สร้างเกมส์ด้วย Scratch : ตอนที่ 6 เกมส์บินเก็บของ

สวัสดีครับน้องๆ หลังจากที่เราเรียนรู้พื้นฐาน สร้างเรื่องสั้น สร้างเสียงดนตรีกันมาแล้ว หลังจากนี้เราจะได้สร้างเกมส์กันสักทีครับ (เย้) และหลังจากนี้อีก 5-6 ตอน ก็จะเป็นการสร้างเกมส์ไปเรื่อยๆ ครับ เราไปลุยกับเกมส์แรกกันเลยครับ สำหรับวิธีการใช้งานโปรแกรม Scratch – น้องๆ สามารถอ่านได้ที่ https://karnlab.com/scratch-ep1-lets-start/ เลือกตัวละคร 1. ที่แถบ Sprites ข้างขวาข้อความ New Sprite คลิกไอคอนตัวละคร จากนั้นเลือกตัวละครที่ต้องการ (เช่น Cat Flying) – แล้วกดปุ่ม OK ครับ Tip: น้องสามารถลบตัวละครที่ไม่ต้องการได้โดย – ที่แถบ Sprites คลิกขวาตัวละครที่ไม่ต้องการ – แล้วกดปุ่ม delete เตรียมตัวบิน 2. ก่อนที่น้องแมวของเราจะบิน เราจะให้น้องๆ แมวพูดทักทายเล็กน้อยครับ (คล้ายๆ ข้อความ …

สร้างเกมส์ด้วย Scratch : ตอนที่ 5 เสียงดนตรี

สวัสดีครับน้องๆ ทุกคนครับ วันนี้เราจะมาสร้างเสียงดนตรีกันครับ โดยในตอนนี้เราจะเลือกเครื่องดนตรี และเมื่อคลิกจะเกิดเสียงดนตรี น้องๆ ค่อยๆ ลองทำตามกันไปพร้อมๆ กันนะครับ สำหรับวิธีการใช้งานโปรแกรม Scratch – น้องๆ สามารถอ่านได้ที่ https://karnlab.com/scratch-ep1-lets-start/ เลือกพื้นหลัง 1. ที่แถบ Sprites ข้างล่างข้อความ New Backdrop คลิกไอคอนรูปภาพ จากนั้นเลือกพื้นหลังที่ต้องการ (เช่น pathway, slopes) แล้วกดปุ่ม OK – เราจะเห็นพื้นหลังที่เราเลือกปรากฏที่ Stage เราจะได้ผลลัพธ์ดังนี้ Tip 1: น้องๆ สามารถลบตัวละครที่ไม่ต้องการได้โดย – คลิกขวาที่ตัวละครบน Stage แล้วกดเมนู delete ได้เลยครับ Tip 2: หรือ น้องๆ สามารถลบตัวละครที่ไม่ต้องการได้โดย – ไปที่แถบ …

สร้างเกมส์ด้วย Scratch : ตอนที่ 4 สร้างเรื่องสั้น

สวัสดีครับน้องๆ ทุกคนครับ วันนี้เราจะมาสร้าง Animation เรื่องสั้นกันครับ 🙂 ตอนนี้อาจจะยาวไปสักหน่อย น้องๆ ค่อยๆ อ่านและลองทำตามไปเรื่อยๆ นะครับ สำหรับวิธีการใช้งานโปรแกรม Scratch – น้องๆ สามารถอ่านได้ที่ https://karnlab.com/scratch-ep1-lets-start/ เลือกพื้นหลัง ที่แถบ Sprites ข้างล่างข้อความ New Backdrop คลิกไอคอนรูปภาพ จากนั้นเลือกพื้นหลังที่ต้องการ (เช่น pathway, slopes) แล้วกดปุ่ม OK – เราจะเห็นพื้นหลังที่เราเลือกปรากฏที่ Stage เราจะได้ผลลัพธ์ดังนี้ เลือกตัวละคร Tip: น้องสามารถลบตัวละครที่ไม่ต้องการได้โดย – ที่แถบ Sprites คลิกขวาตัวละครที่ไม่ต้องการ – แล้วกดปุ่ม delete ที่แถบ Sprites ข้างขวาข้อความ New Sprite คลิกไอคอนตัวละคร …

สร้างเกมส์ด้วย Scratch : ตอนที่ 3 สุขสันต์วันเกิด

สวัสดีครับน้องๆ ทุกคนครับ วันนี้เราจะมาสร้าง Happy Birthday Card แบบ interactive กันครับ 🙂 สำหรับวิธีการใช้งานโปรแกรม Scratch – น้องๆ สามารถอ่านได้ที่ https://karnlab.com/scratch-ep1-lets-start/ ใส่พื้นหลัง ที่แถบ Sprites ข้างล่างข้อความ New Backdrop คลิกไอคอนรูปภาพ จากนั้นเลือกพื้นหลังที่ต้องการ แล้วกดปุ่ม OK – เราจะเห็นพื้นหลังที่เราเลือกปรากฏที่ Stage เปลี่ยนสีพื้นหลัง คลิกที่แถบ Scripts – พร้อมกับเช็คว่า Stage (ที่แถบ Sprites) กำลังถูกเลือกอยู่ เพิ่ม Scripts เปลี่ยนสีพื้นหลัง 4.1) ที่แถบ Scripts ให้คลิกที่คำว่า Events (สีน้ำตาล) – ให้ลากกล่อง [ …

สร้างเกมส์ด้วย Scratch : ตอนที่ 2 – ตัวอักษรเคลื่อนไหว

สวัสดีครับน้องๆ วันนี้เราจะมาเขียนโปรแกรมภาษา Scratch เพื่อสร้างตัวอักษรเคลื่อนไหวกันครับ สำหรับวิธีการใช้งานโปรแกรม Scratch – น้องๆ สามารถอ่านได้ที่ https://karnlab.com/scratch-ep1-lets-start/ เลือกตัวอักษร คลิกที่ไอคอนรูปตัวละคร (อยู่ที่แถบ Sprites – สังเกตที่ข้างๆ ข้อความ New Sprite) เลือก Category: Letters – เลือกตัวอักษรที่ต้องการ (จะเป็นตัวอักษรแรกของชื่อเล่น ชื่อที่ชอบ หรือ คำศัพท์ภาษาอังกฤษอะไรก็ได้ครับ) เอารูปแมวออก – ด้วยการคลิกขวาที่รูปแมว ในแถบ Sprites – จากนั้นคลิก Delete ใส่เอฟเฟกต์ ต่อไป เราจะทำให้ตัวอักษรเปลี่ยนสี เมื่อเราคลิกที่ตัวอักษรนะครับ 4.1) ที่แถบ Scripts ให้คลิกที่คำว่า Events (สีน้ำตาล) – ลากกล่องที่เขียนว่า [ when …

สร้างเกมส์ด้วย Scratch : ตอนที่ 1 – เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษา Scratch

วิธีใช้งานโปรแกรม [สำหรับ Scratch 3.0] – น้องๆ สามารถเขียนโปรแกรม โดยเข้าไปที่เว็บไซต์ https://scratch.mit.edu/create ได้เลย หรือ ถ้าต้องการลงโปรแกรมในคอมพิวเตอร์ของเรา สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมเวอร์ชันล่าสุดได้ที่ https://scratch.mit.edu/download [สำหรับ Scratch 2.0] – น้องๆ ต้องดาวน์โหลดโปรแกรมเวอร์ชัน 2.0 จากที่นี่ https://scratch.mit.edu/download/scratch2 แล้วติดตั้วลงในคอมพิวเตอร์ก่อนนะครับ วิธีติดตั้ง Scratch 2.0 ลงในคอมพิวเตอร์ – เร็วๆ นี้ กรณีใช้งานโปรแกรมผ่านเว็บไซต์ แนะนำให้สมัครสมาชิกก่อน เพราะจะสามารถบันทึกโปรแกรมไว้แก้ไขในภายหลังและแชร์โปรแกรมให้เพื่อนๆ ได้ครับ วิธีสมัครสมาชิกเว็บไซต์เพื่อใช้งานโปรแกรม Scratch เนื่องจากบทเรียนนี้ใช้ Scratch เวอร์ชันภาษาอังกฤษ ดังนั้นหาก Web Browser ของน้องๆ แสดงผลเป็นภาษาไทย สามารถเปลี่ยนภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ดังนี้ครับ วิธีเปลี่ยนภาษา (ไทย-อังกฤษ) บนโปรแกรม Scratch …

วิธีเปลี่ยนภาษา (ไทย-อังกฤษ) บนโปรแกรม Scratch

ถ้าเปิดโปรแกรม Scratch แล้วพบว่าภาษาตั้งต้นไม่ใช่ภาษาที่เราต้องการ (เช่น ต้องการใช้ภาษาอังกฤษ แต่ Web Browser แสดงผลภาษาไทย) ไม่ต้องตกใจครับ เราสามารถเปลี่ยนภาษาแสดงผลของ Scratch ได้ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 – ในหน้าเว็บไซต์ Scratch (หน้าไหนก็ได้) เลื่อนหน้าจอลงมาด้านล่างสุด – เราจะพบกล่องข้อความภาษา ขั้นตอนที่ 2 – คลิกที่กล่องแสดงผลภาษา – เลือกภาษาที่ต้องการ เพียงเท่านี้ Scratch ก็จะแสดงผลในภาษาที่เราต้องการแล้วครับ

วิธีสมัครสมาชิกเว็บไซต์เพื่อใช้งานโปรแกรม Scratch

การสมัครสมาชิกเว็บไซต์ Scratch จะทำให้เราสามารถบันทึกโปรเจค (Save Project) เพื่อแก้ไขโปรแกรมในภายหลังหรือแชร์ต่อให้เพื่อนๆ ได้ครับ โดยมีวิธีง่ายๆ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 – เข้าไปที่เว็บไซต์ https://scratch.mit.edu/ – จากนั้นกดปุ่ม Join Scratch ขั้นตอนที่ 2 – กรอกข้อมูล Username (เป็นภาษาอังกฤษ) และ Password – จากนั้นกดปุ่ม Next ขั้นตอนที่ 3 – กรอกข้อมูล เดือน/ปีเกิด เพศ และ ประเทศ – จากนั้นกดปุ่ม Next ขั้นตอนที่ 4 – กรอกอีเมล (ต้องเป็นอีเมลที่มีอยู่จริง) – จากนั้นกดปุ่ม Next ขั้นตอนที่ 5 …

สร้างเกมส์ด้วย Scratch : ตอนที่ 0 – รู้จักภาษา Scratch

Scratch (อ่านว่า สะ-แครท์ช) เป็นภาษาเขียนโปรแกรมสำหรับเด็ก ซึ่งเด็กๆ สามารถสร้างโปรแกรมได้ง่ายๆ ด้วยการเลือกคำสั่งที่ต้องการและเรียงลำดับการทำงานให้ถูกต้องผ่านทางหน้าจอ (โดยไม่ต้องเขียนโค้ด) ภาษา Scratch มุ่งเน้นไปที่การสอนให้เด็กๆ และบุคคลทั่วไปเข้าใจการเขียนโปรแกรมให้มากขึ้น ผ่านการเขียนโปรแกรมแบบง่ายๆ ดังนั้น ภาษา Scratch จึงได้รับความนิยมในการนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอนในโรงเรียนและวิทยาลัยต่างๆ (แต่ภาษา Scratch ไม่สามารถนำมาใช้เขียนโปรแกรมใช้ในชีวิตจริงได้) ภาษา Scratch ได้รับการพัฒนาโดยมหาวิทยาลัยแมสซาชูเซตส์ (MIT – Massachusetts Institute of Technology) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002 เปิดให้บริการครั้งแรกในปี ค.ศ. 2007 ปัจจุบันมีโปรแกรมที่ถูกพัฒนาด้วยภาษา Scratch กว่า 40 ล้านโปรเจค การใช้เพื่อการศึกษา ภาษา Scratch ถูกใช้เป็นภาษาเบื้องต้นในการเรียนเขียนโปรแกรม เพราะถูกออกแบบมาให้ผู้เรียนสามารถสร้างโปรแกรมได้โดยง่าย มุ่งเน้นที่การทำความเข้าใจการควบคุมและการทำงานของโปรแกรมมากกว่าการเขียนโค้ด และความเข้าใจนี้จะทำให้ผู้เรียนสามารถต่อยอดไปสู่การเขียนโปรแกรมภาษาอื่นๆ ที่ยากขึ้นต่อไปได้ เช่น C++, …