- จัดกการตัวเอง
- ถ้าคิดจะทำอะไรใหม่ๆ อย่าคิดเยอะ
- ถ้าคุณอยากทำอะไรจริงๆ คุณจะมีเวลาทำมันเสมอ
- อยากทำอะไรก็ทำเถอะ อย่ารอให้แก่แล้วมาคิดว่า “ถ้ารู้งี้”
- หยุดกังวลเกี่ยวกับสิ่งที่คนอื่นคิดกับคุณ
- เรามักซีเรียสกับเรื่องที่คนอื่นคิดเกี่ยวกับตัวเรามากเกินไป
- ความกลัวนี้ทำให้เราไม่สามารถทำในสิ่งที่เราอยากทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เวลาเครียดให้เราหายใจเข้า-ออก ลึกๆ / สร้าง self-awareness
- หาปรัชญาในการดำเนินชีวิตผ่านคำถามต่อไปนี้ – อะไรคือความเชื่อที่อยู่ในตัวเรา / ใครมึคุณสมบัติตรงกับสิ่งที่เราเชื่อ / คำพูดหรือปัชญาไหนที่เราชอบ
- เข้าใจนิสัยผลัดวันประกันพรุ่ง
- หนังสือ – Wait But Why
- เรื่องราวของลิงและกัปตันเรือ
- แรงจูงใจในการทำงาน
- หนังสือ – How will you measure your life
- Hygiene Factors / Motivation Factors
- ทำอย่างไรจึงจะเป็นคนที่เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต
- ทันทีที่มหาวิทยาลัยพิมพ์ในปริญญาให้เรา เรื่องที่เรียนมาก็ล้าสมัยไปแล้ว
- Self-directed Learner
- เรียนได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องมีใครมาเคี่ยวเข็ญ
- วิเคราะห์ได้ว่าต้องเรียนเรื่องอะไร เพราะอะไร
- มีเป้าหมายที่ชัดเจน
- รู้จักทรัพยากรในการเรียนรู้
- เลือกกลยุทธ์ในการเรียน
- Growth Mindset
- การตั้งเป้าหมายแบบ SMART
- รู้กว้าง vs รู้ลึก
- ขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เราทำว่าต้องการแบบไหน
- การรู้จัดตัวเองคือทักษะที่สำคัญที่สุดของศตวรรษที่ 21
- เข้าใจตัวเองด้วยตนเอง
- การที่เรารู้ว่าคนอื่นคิดกับเรายังไง ไม่ได้หมายความว่าเราจะรู้จักตัวเอง
- คนที่มี Self-Awareness สูงมากๆ จะมีสิ่งที่เรียกว่า Love Critics คือผู้ที่วิจารณ์หรือแนะนำด้วยความหวังดี
- ผู้นำที่อ่อนน้อมถ่อมตน เข้าใจตนเอง รู้หน้าที่ของตัวเองสิ่งเหล่านี้จะช่วยให้คุณเติบโตได้รวดเร็วมากขึ้น
- ความสำคัญของ Deep Work
- สำหรับคนส่วนใหญ่ ช่วงเวลาที่สามารถ Deep Work ได้ดีที่สุดคือ 3-5 ชั่วโมงหลังจากตื่นนอน
- เราต้องใช้เวลาช่วง Deep Work ให้คุ้มค่าที่สุด โดยที่เราต้องเอางานที่สำคัญที่สุดมาทำในช่วงเวลานี้
- เคล็ดลับในการสร้าง Deep Work
- นอนให้พอ
- ออกกำลังกายแบบสั้นๆ
- พักผ่อนระหว่างการทำงานด้วย
- ปิดเครื่องมือสื่อสารเวลาที่ต้องการสมาธิ
- นั่งสมาธิก็ช่วยได้
- ภาวะหมดไฟแบบปลอมๆ
- เช็คอาการ Phantom Burnout
- การทำงานติดต่อกันนานๆ ทำให้เราล้าได้ (พักผ่อนบ้าง)
- งานเดิม แต่เปลี่ยนมุมมองใหม่ (เพิ่มสีสันในการทำงาน)
- เช็คอาการ Phantom Burnout
- สามกระบวนท่าในการตัดสินใจ
- การตัดสินใจเชิงโต้ตอบ – การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า (ไม่ดี)
- การตัดสินใจเชิงรุก – วางแผนสิ่งที่เราจะต้องทำ (ทำให้เรามีเวลาคิดมากขึ้น)
- การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ – มองเป้าหมายและภาพในอนาคตในอีกหลายปีข้างหน้า
- คำถามที่ใช่
- การตั้งคำถามให้ถูกต้องเป็นสิ่งที่สำคัญ ถ้าเราตั้งคำถามผิด คำตอบที่ได้ก็จะผิดตามไปด้วย
- การตั้งคำถามให้ถูกต้องเป็นสิ่งที่สำคัญ ถ้าเราตั้งคำถามผิด คำตอบที่ได้ก็จะผิดตามไปด้วย
- ถ้าคิดจะทำอะไรใหม่ๆ อย่าคิดเยอะ
- จัดการธุรกิจ
- Rethink / Reframe / Refocus
- Zoom Out-In มองอนาคตในอีก 10-20 ปีข้างหน้า แล้วมองว่าในอีก 6-12 เดือนนี้ เราสามรถทำอะไรได้บ้าง
- Innovation – คนเราสามารถล้มเหลวได้ แต่ล้มเหลวแล้วต้องเรียนรู้ / ความรู้ที่ดีที่สุดเกิดจากการลงมือทำ
- Transformation – การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อเรารู้ว่าใครอยากเปลี่ยนและใครไม่อยากเปลี่ยน แล้วหาทางที่สบายใจทั้งสองฝ่าย (หักดิบเปลี่ยนไปเลยก็ไม่ดี) / เราต้องเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ถูกต้องด้วย
- กระดุมเม็ดแรก
- หนังสือ Zero to One
- การพัฒนาแนวราบ – ต่อยอดไอเดียที่มีอยู่แล้ง
- การพัฒนาแนวดิ่ง – สร้างสิ่งที่ไม่เคยมีให้เกิดขึ้น
- เราจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงไหม? / เราสามารถเปลี่ยนแปลงได้ไหม? / เราจะเปลี่ยนไหม? / แล้วบริบทที่เหมาะสมคืออะไร?
- Start-up ที่ประสบความสำเร็จ – เข้ามาในตลาดที่ถูกต้อง ด้วยสินค้าที่ถูกต้อง ในเวลาที่ถูกต้อง
- โลกของเรายังมีปัญหาและความไร้ประสิทธิภาพที่รอการแก้ไขอีกมากมาย
- เริ่มเล็กๆ ค่อยๆ ขยาย
- การยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง
- ต้องเริ่มต้นจากประสบการณ์ของลูกค้าก่อน แล้วค่อยมาคิดถึงเรื่องเทคโนโลยี
- ขยาดได้ / ขยายไม่ได้ (?)
- ทำธุรกิจเก่าแก่ให้กลับมายิ่งใหญ่
- ปัญหาคือคนส่วนใหญ่รู้ว่าตัวเองกำลังทำอะไร แต่ไม่สามารถตอบโจทย์เป้าหมายขององค์กรได้
- ถ้าคนในองค์กรบอกว่าพวกเราไม่มีปัญหา ทั้งๆ ที่องค์กรกำลังเผชิญกับปัญหาใหญ่ นั่นคือ ปัญหาที่ใหญ่สุด
- แนวคิดจาก Levi’s
- อะไรคือแก่นที่ทำให้ธุรกิจมีกำไร
- ขยายธุรกิจส่วนที่มีกำไร
- ควบคุมห่วงโซ่อุปทาน (มีโรงงานและหน้าร้านเป็นของตัวเอง)
- เพิ่มรายได้ ลดค่าใช้จ่าย (ทำให้ผลการดำเนินการดีขึ้น)
- วัฒนธรรมองค์กรวัดค่าอย่างไร
- แรงจูงใจในวัฒนธรรมองค์กรที่ดี
- ทำงานแล้วสนุก
- ทำงานแล้วมีเป้าหมาย
- ทำงานแล้วเพิ่มศักยภาพในตัวเอง
- แรงจูงใจในวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี
- ทำงานแล้วเครียด/กดดัน
- ทำงานแล้วไม่คุ้มค่าแรงที่ได้
- ทำงานแล้วไม่มีอะไรดีขึ้น
- แรงจูงใจในวัฒนธรรมองค์กรที่ดี
- วัฒนธรรมองค์กร อดีต / วันนี้ / อนาคต
- สภาพแวดล้อมการทำงานต้องให้ความรู้สึกปลอดภัย
- โฟกัสที่การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
- รับมือฟีดแบ็คด้านลบบนโซเชียลมีเดีย
- ตอบกลับอย่างรวดเร็ว
- ขอโทษอย่างจริงใจ
- หาปัญหาที่แท้จริงอย่างใจเย็น
- เปลี่ยนการสื่อสารจาก Online เป็น Offline
- ลูกค้าไม่ได้ต้องการแค่คำขอโทษ
- ธุรกิจคือเรื่องเล่า
- (เปรียบเทียบมนุษย์กับลิงชิมแปนซี)
- การสร้าง Story สำหรับธุรกิจ
- ใครคือคนฟัง
- ประสบการณของเรา
- หัวใจของเรื่องที่อย่างจะเล่า
- ทำทุกอย่างให้เข้าใจง่าย
- Rethink / Reframe / Refocus
- จัดการทีม
- การบริหารจัดการความเครียดของทีม
- สิ่งที่สำคัญในการทำงาน คือ คิด เขียน กลยุทธ์ และ การสื่อการ
- รู้ว่างานไหนที่สำคัญจริงๆ
- อย่าให้ปริมาณงานเยอะเกินไป
- อย่าให้เวลาการทำงานถูกขัดจังหวะบ่อยๆ
- ไม่ประชุมอย่าไร้ประโยชน์
- ใช้อุปกรณ์สื่อสารอย่างมีขอบเขต
- หลังจากได้รับงานมาแล้ว ต้องมีการวางแผน
- กำหนดหน้าที่ให้ลูกทีมแต่ละคน
- บอกสิ่งที่คาดหวังอย่างชัดเจน
- มอบหมายงานให้ถูกคน
- ทำไมคนคนเดียวถึงทำลายทีมของคุณได้
- คนที่มี Good-Mindset 10 คน ไม่สามารถเปลี่ยนคนที่มี Bad-Mindset 1 คน
- แต่คนที่มี Bad-Mindset 1 คน สามารถเปลี่ยนคนที่มี Good-Mindset 10 คน
- จะรับมือกับคน Toxic ในที่ทำงานอย่างไร
- หาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา
- ต้องให้ Feedback ตรงๆ และให้โอกาสในการเปลี่ยนแปลง
- อธิบายถึงผลที่ตามมา หากเขายังไม่แก้ไข
- เก็บบันทึกหลักฐานความเสียหาย
- แยกคนที่ Toxic ออกจากคนอื่น
- เรื่องคนสำคัญที่สุด
- คุณไม่สามารถสอนอะไรใครได้ แต่คุณสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ของเขาได้
- โค้ชชิ่งคืองานหลักอย่างหนึ่งของหัวหน้า
- เทคนิคโคชชิ่ง – Ask / Listen / Empathize
- การให้เกียรติก็เหมือนอากาศ
- ให้เกียรติกับคนทุกคน
- จะหาคนคุณภาพ ต้องออกแบบการสัมภาษณ์
- จุดประสงค์ของการหาคนมาทำงาน คือ หาคนที่เข้ากับองค์กรทั้งในเรื่องความสามารถ ความเชื่อ และ วิธีการทำงาน
- ตัวอย่างคำถาม เกี่ยวกับคุณค่า
- ใครคือคนที่เป็นแบบอย่าง และเพราะอะไร?
- อะไรคือสิ่งที่ยากที่สุดที่เคยเจอมาก และผ่านมันไปได้อย่างไร?
- เวลาที่เราล้มเหลว เราจัดการความคิดด้านลบนั้นอย่างไร?
- ช่วงเวลาที่เราไม่รู้ว่าชีวิตจะเดินไปทางไหนต่อ ในช่วงเวลานั้นเราทำอย่างไร?
- ถ้าคุณเป็นเจ้าของกิจการ คุณอยากเป็นเจ้าของกิจการอะไร และเพราะอะไร?
- ตัวอย่างคำถาม เกี่ยวกับการทำงาน
- งานแรกของคุณคืออะไร และมันสอนอะไรคุณบ้าง?
- ตอนเวลาว่างคุณทำอะไรบ้าง
- พลวัตของความสุข
- ความสัมพันธ์ที่ดีจะช่วยให้เรามีความสุขและแข็งแรงมากขึ้น
- ความสัมพันธ์ทางสังคมมีผลต่อเรามาก
- คุณภาพของความสัมพันธ์เป็นสิ่งสำคัญ
- ความสัมพันธ์ที่ดีช่วยปกป้องสมองของเราได้
- ความสัมพันธ์ที่ดีจะช่วยให้เรามีความสุขและแข็งแรงมากขึ้น
- เพื่อนกัน
- ข้อคิดจากหนังสือ – Super Productive (รวิศ หาญอุตสาหะ)
- เรามักจะเสียใจกับเรื่องที่เราไม่ได้ทำ มากกว่า เรื่องที่เราทำไปแล้วแต่ล้มเหลว
- ทุกคำล้อเล่นจากเพื่อน มีความจริงอยู่ครึ่งหนึ่งเสมอ
- เส้นทางที่พาเรามาจนถึงวันนี้ เกิดขึ้นจากหลายๆ เหตุการณ์
(ไม่ใช่พอมีเหตุการณ์ใหญ่หนึ่งครั้ง แล้วชีวิตเราจะเปลี่ยนทันที)
- อย่ากลัวการเปลี่ยนแปลง
- เราเห็นโลกในแบบที่เราเป็น ไม่ใช่แบบที่โลกมันเป็นจริงๆ
- เมื่อเราทุ่มเทพลังไปกับเรื่องที่เราถนัด ผลลัพธ์จะออกมาดี
- การลงทุนกับตัวเองเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าที่สุด
- วินัย สำคัญกว่า พรสวรรค์
- เลือกคนที่อยู่รอบตัวให้ดี
- ควรศึกษาเรื่องการบริหารเวลาและบริหารเงินตั้งแต่เริ่มทำงาน
- อย่าหวังอะไรใหม่ๆ จากพฤติกรรมเก่าๆ
- สะสมเรื่องราวมากกว่าสิ่งของ
- ชื่อเสียง และ ความน่าเชื่อถือ เป็นสองสิ่งที่สร้างยากที่สุด
- การบริหารจัดการความเครียดของทีม